1. แผนด้านการอุดมศึกษาเพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนของประเทศ พ.ศ. 2564 - 2570
[19 ตุลาคม 2563]
ลำดับ 2. พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522
เผยแพร่เมื่อ 30-09-2020 ผู้ชม 455 Share
พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522
ลำดับ 3. บทบาทการเป็นพิธีกรมืออาชีพ
เผยแพร่เมื่อ 23-09-2020 ผู้ชม 464 Share
บทบาทการเป็นพิธีกรมืออาชีพของนักวิเทศสัมพันธ์
ลำดับ 4. นโบายและยุทธศาสตร์กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
เผยแพร่เมื่อ 25-08-2020 ผู้ชม 1,014 Share
“ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม แถลงนโยบายเสนอ 5 แนวทางแก้ปัญหาชาติเร่งด่วน
ลำดับ 5. วิธีป้องกันตนเองจากโควิด-19
เผยแพร่เมื่อ 04-06-2020 ผู้ชม 1,539 Share
วิธีป้องกันตนเองจากโรคโควิด-19
ไวรัสโคโรน่าสายพันธ์ใหม่หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โควิด-19 ที่กำลังระบาดอยู่ในขณะนี้ อาการของโรคที่มีรายงานได้แก่ มีไข้ ไอ และหายใจหอบ ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจมีโรคปอดอักเสบหรือหายใจลำบากร่วมด้วย และอาจถึงเสียชีวิต แต่พบไม่บ่อยนัก และปัจจุบันเชื้อไวรัสนี้สามารถแพร่กระจายจากคนสู่คนได้แล้ว ดังนั้น ทุกคนสามารถป้องกันตัวเองและคนรอบข้างให้ห่างไกลจากเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธ์ใหม่ 2019 ได้ โดยมีวิธีหลากหลาย
ลำดับ 6. บอกเล่าประสบการณ์แลกเปลี่ยนในต่างประเทศ
เผยแพร่เมื่อ 15-05-2020 ผู้ชม 1,376 Share
บอกเล่าประสบการณ์แลกเปลี่ยนในต่างประเทศ
ลำดับ 7. คำศัพท์ด้านการศึกษา
เผยแพร่เมื่อ 13-05-2020 ผู้ชม 1,784 Share
คลังคำศัพท์เกี่ยวกับด้านการศึกษา ภาษาไทย-ภาษาอังกฤษ
ที่มา: กระทรวงการต่างประเทศ
ลำดับ 8. คำศัพท์ชื่่อตำแหน่งไทย-อังกฤษ
เผยแพร่เมื่อ 07-05-2020 ผู้ชม 1,506 Share
รายชื่อตำแหน่งตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 (ไทย-อังกฤษ) ตามสายงาน ประเภท และระดับตำแหน่ง
ลำดับ 9. โมเดลการเรียนรู้ในโลกหลังโควิด
เผยแพร่เมื่อ 29-04-2020 ผู้ชม 1,294 Share
โมเดลการเรียนรู้ในโลกหลังโควิด-19
การสร้างคนในโลกศตวรรษที่ 21 ต้องเปลี่ยนจาก “การศึกษา” ให้เป็น “การเรียนรู้” โดยเน้นเน้นผู้เรียนเป็นหลัก สร้างสภาวะแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อกระบวนการเรียนรู้หรือก็คือการส่งเสริมการเรียนรู้ (Learning) ขณะเดียวกันก็ต้องมี Living และ Loving ด้วย หมายความว่า เด็กต้องเริ่มที่รักที่จะเรียนรู้ รู้ที่จะเรียน เรียนรู้ที่จะรอด และเรียนรู้ที่จะรัก
ลำดับ 10. ความเป็นสากลในบ้าน
เผยแพร่เมื่อ 22-04-2020 ผู้ชม 1,778 Share
INTERNATIONALIZATION AT HOME: ความเป็นสากล’ เบ่งบานได้จาก ‘ในบ้าน
จุดเริ่มต้นของคำว่า “ความเป็นสากล” ในประเทศไทย
ในประเทศไทยพบว่ามักใช้ความเป็นสากลผ่านคำศัพท์ “Globalization” โดยแสดงถึงผลกระทบของการเคลื่อนย้ายเพื่อผลทางการเมืองและเศรษฐกิจ ต่อมาได้เกิดคำใหม่ว่า “โลกาภิวัฒน์” และต่อมาเกิดการใช้คำว่า “Interantionalization” ซึ่ง Jane Knight ระบุว่ามีการใช้คำว่า “Interantionalization” ในทางรัฐศาสตร์และในภาครัฐมาเป็นศตวรรษแล้ว และเริ่มนำมาใช้ในด้านการศึกษาอย่างจริงจังในต้นทศวรรษที่ 1980 โดยมักใช้คำว่า “international education” ต่อมาได้เกิดคำศัพท์ใหม่ๆ เช่น transnational, borderless และ cross-border education
สำหรับประเทศไทยโดยสำนักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ สำนักปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย นวัตกรรม (สป.อว.) ได้กำหนดและใช้คำว่า “internationalization (IZN): ความเป็นสากล
10 รายการ : 1 หน้า